โดย : admin | เมื่อ : 2017-04-18 15:03 | เข้าชม : 1699
พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ลพระไพศาล วิสาโลชมรมกัลยาณธรรม หนังสือดีลลำดับที่ ๒ ๘ ๘ พิมพ์ครั้งที่ ๑ : มกราคม ๒๕๕๗ จำำนวนพิมพ์ ๘,๐๐๐ เล่ม จัดพิมพ์โดย ชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชัย ต�าบลปากน�้า อ�าเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ภำพปก/ภำพประกอบ/ออกแบบ คนข้างหลัง ช่วยแก้ค�ำ อะต้อม พิสูจน์อักษร หะนู, ทีมงานกัลยาณธรรม พิมพ์โดย บริษัท ส�านักพิมพ์สุภา จ�ากัด ๑๑๘ ซอย ๖๘ ถนนจรัญสนิทวงศ์ เขตบางพลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร. ๐-๒๔๓๕-๘๕๓๐ สัพพทำนัง ธัมมทำนัง ชินำติ การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ทั้งปวง www .kan layanatam .com www .v isa l o . org พระไพศาล วิสาโลข อ ม อ บ เ ป็ น ธรร ม บรรณา การ แ ด่ จ า ก“ของขวัญแห่งชีวิต” เป็นหัวข้อบรรยายที่ข้าพเจ้าได้รับ อาราธนาจากชมรมกัลยาณธรรมในงานแสดงธรรมและปฏิบัติ ธรรมครั้งที่ ๒๖ ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ศกนี้ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพฯ ต ่อมาชมรม กัลยาณธรรมเห็นว่าการบรรยายดังกล่าวมีประโยชน์ น่าพิมพ์ เผยแพร่ในโอกาสขึ้นปีใหม่ ข้าพเจ้าจึงได้ปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะ แก่การจัดพิมพ์ ของขวัญอันประเสริฐยิ่งนั้น ไม่มีใครสำมำรถมอบให้แก่ เรำได้ แท้จริงเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วกับเรำ แต่จะมีควำมหมำยอย่ำง แท้จริงก็ต่อเมื่อเรำรู้จักใช้ประโยชน์หรือต่อยอดให้เกิดควำม ดีงำมยิ่งๆ ขึ้นไป หาไม่แล้วสิ่งเหล่านั้นก็ดูเหมือนไร้ค่าหรือ ถูกมองข้ามไป ขณะที่ทรัพย์ ยศ อ�านาจ หรือสิ่งที่ฉาบฉวย ผิวเผินทั้งหลาย กลับเป็นที่หมายปองหรือถูกยกให้มีความ ส�าคัญขึ้นมาแทน คํ า ป ร า ร ภพ ระไพศาล วิ สาโล ของขวัญอันประเสริฐของชีวิตนั้นได้แก่อะไร ค�าตอบมี อยู่แล้วในหนังสือเล่มเล็กๆ นี้ เมื่อได้อ่านแล้ว ท่านย่อมมองเห็น ได้เองว่า ไม่ว่ำยำกดีมีจนอยู่ในสถำนะใด เรำแต่ละคนล้วนมี สิ่งทรงคุณค่ำไม่ได้ยิ่งหย่อนกว่ำกัน ไม่มีใครต�่ำต้อยกว่ำใคร กล่ำวอย่ำงถึงที่สุดแล้ว ชีวิตของเรำจะมีคุณค่ำมำกหรือน้อย ก็อยู่ที่ว่ำจะใช้ของขวัญที่มีอยู่นั้นให้เกิดประโยชน์เพียงใด ต่ำงหำก ขออนุโมทนาชมรมกัลยาณธรรม ซึ่งมีกุศลฉันทะในการ เผยแผ่ธรรมอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ทั้งการจัดบรรยาย และจัดพิมพ์หนังสือ มีผลงานมากมายอันเปี่ยมด้วยคุณภาพ ในช่วงเวลาเพียงไม่กี่ปี หวังว่าหนังสือเล่มเล็กๆ นี้จะมีส่วน สมทบในการเสริมสร้างสัมมาทัศนะและสัมมาปฏิบัติ เอื้อให้ ทุกท่านมีชีวิตที่ผาสุก สงบเย็น และเข้าถึงประโยชน์สูงสุดแห่ง ความเป็นมนุษย์ วันมหาปวารณา ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๖ 5หนังสือเรื่อง ของขวัญแห่งชีวิต เล่มนี้ เป็นการเรียบเรียงจาก การแสดงธรรมในชื่อเรื่องเดียวกัน ของพระอาจารย์ไพศาล วิสาโล จากงานแสดงธรรมเป็นธรรมทาน ครั้งที่ ๒๖ ของชมรมกัลยาณธรรม ตามที่พระอาจารย์ได้อ้างถึงในค�าอนุโมทนาไว้แล้ว เพื่อให้เกิด ประโยชน์กว้างขวางแก่สาธุชนผู้ใฝ่ธรรม จึงกราบขออนุญาตพระ อาจารย์จัดพิมพ์เป็นหนังสือ เป็นของขวัญรับศักราชใหม่ ๒๕๕๗ ที่ก�าลังจะมาถึงนี้ ซึ่งท่านมีเมตตาตรวจทานและปรับปรุงต้นฉบับ ให้เหมาะสมแก่การจัดพิมพ์เป็นหนังสือ ขอกราบขอบพระคุณใน ความกรุณาของพระอาจารย์เป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ ด้วยเสน่ห์แห่งการถ่ายทอดธรรมที่อ่านเข้าใจง่าย ไม่มีศัพท์ บาลีหรือปมความหมายนัยยะที่เข้าใจยาก ท�าให้หนังสือธรรมของ ช ม ร ม กั ล ย า ณ ธ ร ร ม คํ า นํ า ข อ ง พ ระไพศาล วิ สาโล พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล สามารถเป็นทางเลือกที่รื่นรมย์และเปี่ยม ด้วยอรรถรสสาระแห่งธรรม ชวนศึกษา ท�าความเข้าใจ น่าใคร่ครวญ น้อมน�ามาปฏิบัติ แม้คนที่ไกลวัดก็ไม่กลัวหนังสือธรรมะอีกต่อไป เนื่องด้วยท่านพระอาจารย์สามารถใช้ภาษาง่ายๆ ใสๆ ตรงไปตรงมา และตรงประเด็น พร้อมด้วยตัวอย่างและสถานการณ์ที่ทันสมัย น�ามาประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในหลากหลายมิติของชีวิตจริงได้ เมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้แล้ว ทุกท่านย่อมเข้าใจชัดเจนขึ้นว่า “ของขวัญแห่งชีวิต” ที่แท้จริงนั้น ไม่ได้อยู่ไกลเกินเอื้อม แต่อยู่ที่ กายใจของแต่ละท่าน ณ ปัจจุบันขณะนี้เอง ทุกท่านมีโอกาส มีสิทธิ มีอ�านาจ เท่าเทียมกัน ไม่มีใครได้เปรียบเสียเปรียบในกำรได้รับ ของขวัญที่ยิ่งใหญ่ แม้จนกระทั่งสิ่งสูงสุดในระดับ “อริยโลกุตตร- ธรรม” อันบริสุทธิ์หมดจดผ่องแผ้ว ก็ไม่เกินขอบเขตแห่งศักยภำพ ของมนุษย์ทุกคนที่จะเป็นผู้สมควรได้รับของขวัญอันประเสริฐสุดนี้ ต่อแต่นี้ไป เมื่อเรำเข้ำใจถึงของขวัญที่แท้จริงแล้ว เรำย่อม มีจิตใจเป็นอิสระจำกสิ่งภำยนอกได้มำกขึ้นตำมล�ำดับ และมำ สร้ำงสรรค์ของขวัญที่มีอยู่แล้ว ในกำยใจของเรำเอง ให้มีมูลค่ำ เพิ่มมำกยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นสิ่งพื้นฐาน เช่น สภาวะของความเป็น มนุษย์ การมีลมหายใจเข้าออก การอยู่ในปัจจุบันขณะ และแม้แต่ 7ข องขวัญ แ ห่งชีวิต สิ่งต่างๆ รอบตัว เราก็จะมีมุมมองใหม่ ที่จะได้รับโอกาสในการ เพิ่มพูนของขวัญให้ชีวิตเราได้มากขึ้น ต ่อนี้ไป ในคราวที่เรา ประสบทุกข์จากความพลัดพราก ความไม่สมปรารถนา หรือความ ผันผวนต่างๆ ของโลกตามอ�านาจแห่งโลกธรรม เราก็จะมองเห็น ความทุกข์ยาก ไม่สมปรารถนาเหล่านี้ เป็น “เทพธิดาจ�าแลง” ที่ แปลงกายมาเพื่อมอบสิ่งที่มีค ่าให้เราในท้ายที่สุด หากเราใช้ สติ-ปัญญาต้อนรับเขาอย่างเป็นมิตร ตามที่มีค�ากล่าวว่า “เพราะ ประสบทุกข์ จึงได้เห็นธรรม” นั่นเอง ชมรมกัลยาณธรรมหวังอย่างยิ่งว่า “ของขวัญแห่งชีวิต” ที่ มอบให้ทุกท่านด้วยรักและปรารถนาดีนี้ จะเป็นสิ่งจรรโลงใจและ จุดประกาย ให้ทุกท่านได้รับความสุขความเจริญในชีวิต ก้าวหน้า ในธรรม เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ส่วนตัวและส่วนรวม ทั้ง ปัจจุบันและอนาคต ยิ่งๆ ขึ้นไป ด้วยความปรารถนาดีอย่างยิ่ง ทพญ. อัจฉรำ กลิ่นสุวรรณ์ ประธานชมรมกัลยาณธรรม ๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ 8 ของขวัญคือ ความเป็นมนุษย์ ๑๓ ของขวัญคือ ลมหายใจ ๒๑ ของขวัญคือ โลกรอบตัว ๒๕ ของขวัญคือ ปัจจุบันขณะ ๒๙ ของขวัญคือ ความทุกข์ ๔๓ ของขวัญคือ อริยโลกุตตรธรรม ๕๙ ประวัติพระไพศาล วิสาโล ๖๒ ส า ร บั ญเวลาพูดถึงของขวัญ เรามักจะหมายถึงสิ่งที่คนอื่นให้ แก่เรา โดยเฉพาะในเทศกาลต่างๆ แต่จะว่าไปแล้ว ของขวัญเหล่านั้นไม่ได้ประเสริฐไปกว่าของขวัญที่เรามี อยู่แล้วกับตัว เราแต่ละคนมีของขวัญ มีของประเสริฐ ที่อยู่กับตัวแล้วทั้งนั้น แต่มักจะมองข้ามไป เราก็เลย ไปจดจ่อ ไปให้ความส�าคัญกับของขวัญที่คนอื่นจะ มอบให้แก่เราในเทศกาลต่างๆ โดยเฉพาะที่เป็นวัตถุ รูปธรรมองขวัญอันประเสริฐที่เรามีอยู่แล้วกับตัวประการแรกก็คือ ควำมเป็นมนุษย์ ความเป็นมนุษย์หมายถึงการมีร่างกายอย่างมนุษย์และ มีจิตใจที่สามารถคิดได้ รับรู้ ใคร่ครวญ รวมทั้งมีสติ มีความ รู้สึกตัว มีปัญญา น้อยคนจะตระหนักว่าความเป็นมนุษย์ของเรา นั้นเป็นสิ่งประเสริฐ อาจจะเป็นเพราะว่ามันมีอยู่กับเราตั้งแต่ เกิดแล้ว เราก็เลยไม่ค่อยเห็นคุณค่าเท่าไหร่ บางคนเกิดมา เป็นมนุษย์แล้วก็ยังอยากจะไปเกิดเป็นเทวดา มีน้อยคนที่เคย ข ข อ ง ข วั ญ คื อ ค ว า ม เ ป็ น ม นุ ษ ย์ข องขวัญ แ ห่งชีวิต ได้ยินพุทธพจน์ที่ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ความเป็นมนุษย์นี่แล นับว่า เป็นการไปสุคติของเทพทั้งหลาย” หมายความว่า เทวดาทั้งหลาย ปรารถนาที่จะมาเกิดเป็นมนุษย์ เมื่อเทวดาองค์ใดจะจุติ (หรือ ดับ) เพื่อนเทวดาก็จะพากันอวยพรว่า ขอให้ไปเกิดในหมู่มนุษย์ ในขณะที่ผู้คนจ�ำนวนไม่น้อยอยำกไปเกิดเป็นเทวดำ แต่ ท�ำไมเทวดำจึงอยำกเกิดมำเป็นมนุษย์ ก็เพราะว่าการเป็นมนุษย์ นั้นหมายถึงการมีโอกาสท�าคุณงามความดีงามต่างๆ รวมทั้ง ประพฤติธรรมได้อย่างเต็มที่ พระพุทธเจ้าทรงเปรียบมนุษย์กับ เทวดาชั้นดาวดึงส์ว่า มนุษย์มีความกล้าหาญกว่า มีสติดีกว่า อีกทั้งมีการประพฤติพรหมจรรย์ พรหมจรรย์ในที่นี้ไม ่ได้ หมายถึงการไม่มีคู่ แต่หมายถึงการปฏิบัติตามอริยมรรคซึ่ง ท�าให้เกิดปัญญา สามารถเข้าใจสัจธรรมจนหลุดพ้นออกจาก ความทุกข์ได้ เทวดาทั้งหลายยังหมุนเวียนอยู่ในสังสารวัฏฏ์ แต่มนุษย์ มีความสามารถพิเศษที่จะเข้าถึงวิวัฏฏะ คือหลุดพ้นจากวัฏฏ- สงสาร ทั้งนี้เพราะการปฏิบัติตามอริยมรรค เพราะฉะนั้นความ เป็นมนุษย์จึงเป็นสิ่งล�้าค่าอย่างหนึ่งที่เรามี เมื่อเราเกิดเป็น 14พ ระไพศาล วิ สาโล มนุษย์ แม้จะมีอวัยวะไม่ครบ ๓๒ แต่ตรำบใดที่เรำยังมีจิตใจ ที่สำมำรถคิดนึกและรู้สึกได้ ควำมสุขตลอดจนควำมสำมำรถ ในกำรรู้ธรรมก็สำมำรถเกิดขึ้นกับเรำได้ มีคนพิการจ�านวนไม่น้อย ที่ไม่มีแขนไม่มีขา แต่สามารถด�าเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ร่างกายนี้ไม่เที่ยง เมื่อปราศจากวิญญาณ ก็ล้มกองนอนทับแผ่นดิน ประดุจท่อนไม้ หาประโยชน์มิได้ มีชำวญี่ปุ่นคนหนึ่งชื่อ โอโตทำเกะ มีหัวกับตัว แต ่ไม ่มีแขน ไม ่มีขา เขา เขียนหนังสือเรื่อง ไม่ครบห้า มีแปลเป็น ไทยมาหลายปีมาแล้ว เป็นหนังสือที่ขาย ดีมากในญี่ปุ ่น ชีวิตของบุคคลคนนี้ น ่าสนใจเพราะเขาเป็นคนที่มีความสุข คนหนึ่งแม้ร่างกายไม่สมบูรณ์ มีประโยค 15ข องขวัญ แ ห่งชีวิต หนึ่งที่เขาเขียนในหนังสือเล ่มนี้ว ่า “ผมเกิดมาพิการแต ่มี ความสุขและสนุกทุกวัน” ทั้งที่พิการและพร่องหลายอย่าง แต่ ถ้าใจยังมีความคิด ยังมีสติปัญญา ความสุขหรือความดีงาม ทั้งหลายสามารถเกิดขึ้นกับเขาเหล่านั้นได้ อำจำรย์ก�ำพล ทองบุญนุ่ม ซึ่งเป็นผู้ที่พิการตั้งแต่คอลงมา เนื่องจากประสบอุบัติเหตุจากการสอนนักเรียนว่ายน�้าเมื่อเกือบ ๓๐ ปีที่แล้ว ทุกวันนี้เป็นอาจารย์ทางธรรมที่ได้รับความนับถือ อย่างมากจากผู้คน นี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของบุคคลซึ่งมีความสุข เพราะได้ค้นพบธรรมะจากการปฏิบัติด้วยตัวเอง แม้เดินจงกรม ไม่ได้ แม้ยกมือสร้างจังหวะเจริญสติตามแนวหลวงพ่อเทียน สอนไม่ได้ แม้ท�าอะไรไม่ได้อย่างที่พวกเราสามารถท�าได้ แต่ ท่านก็สามารถเห็นธรรมจนประจักษ์อย่างแจ่มแจ้งว่า ความ พิการที่เกิดขึ้นกับตนนั้น เป็นแค่ความพิการทางกาย แต่ว่าใจไม่ได้พิกำรด้วย 16พ ระไพศาล วิ สาโล แต่ก่อนท่านเคยทุกข์เพราะรู้สึกตลอดเวลาว่า ฉันพิการ ฉันพิการ ความคิดแบบนี้ท�าให้ใจพลอยพิการไปด้วย แต่พอได้ เห็นความจริงเกี่ยวกับรูปนามว่า กายก็อันหนึ่ง ใจก็อันหนึ่ง จึงเห็นชัดเลยว่าความพิการเกิดขึ้นกับกายเท่านั้น แต่ว่าใจ ไม่ได้พิการด้วย จิตจึงออกจากความพิการทันที พบกับความ สงบเย็น แม้ว ่าต้องนั่งรถเข็นหรือนอนเตียงเป็นส ่วนใหญ ่ ไม่สามารถเดินเหินไปไหนมาไหนได้อย่างอิสระ แต่ท่านก็มี ความสุขและความสงบเย็น จนกระทั่งบางคนถึงกับพูดว่า ถ้าหาก เขาสามารถมีความสุขเหมือนกับอาจารย์ก�าพล เขาก็พร้อมที่ จะพิการอย่างอาจารย์ก�าพล คือพร้อมจะแลกร่างกายที่ครบถ้วน สมบูรณ์ เพื่อจะได้มีความสุขอย่างอาจารย์ก�าพล แต ่เราย ่อมทราบดีว ่าของแบบนี้แลกกันไม ่ได้ และก็ ไม่จ�าเป็นต้องแลก เพราะว่าผู้พูดท่านนั้นสามารถจะเข้าถึง สิ่งที่อาจารย์ก�าพลเข้าถึง หรืออาจจะท�าได้ยิ่งกว่าก็ได้ เพราะว่า ควำมเป็นมนุษย์ที่เรำทุกคนมีนั้นเต็มไปด้วยศักยภำพอันไม่มี ประมำณ ไม่เพียงคนพิกำรเท่ำนั้น แม้แต่คนที่เจ็บป่วยด้วย โรคร้ำยไม่ว่ำโรคใดก็ตำม ก็สำมำรถเข้ำถึงควำมสุขควำมสงบ เย็นและเข้ำถึงธรรมอันลึกซึ้งอย่ำงที่เทวดำยำกจะเข้ำถึงได้ 17ข องขวัญ แ ห่งชีวิต มีตัวอย่างมากมายของคนที่ประสบความเจ็บป่วยซึ่งแม้ บั่นทอนร่างกายให้เป็นทุกข์ แต่สติปัญญาที่มีนั้นก็สามารถ ยกจิตออกจากความทุกข์ได้ อย่างพระติสสเถระในสมัยพุทธ- กาล ท่านป่วยด้วยโรคร้ายซึ่งสังคมรังเกียจ แม้แต่พระด้วยกัน ก็ไม่อยากมารักษาพยาบาล เนื่องจากท่านมีแผลพุพองเต็มตัว ส่งกลิ่นเหม็น พอไม่มีใครมาดูแล ท่านก็นอนจมอุจจาระปัสสาวะ เป็นที่รังเกียจของผู้คนหนักขึ้น จนกระทั่งพระพุทธเจ้าได้ เสด็จมาดูแล พระองค์ไม่ได้พยาบาลอะไรมากนอกจากเช็ด เนื้อเช็ดตัว เอาจีวรของท่านไปซักไปต้ม ท�าให้ท่านมีความรู้สึก ผ่องใส สบายใจขึ้น แต่ทุกขเวทนายังมีอยู่และบีบคั้นอย่าง แรงกล้า ครั้นพระพุทธเจ้าแสดงธรรมสั้นๆ ว่า “ร่างกายนี้ ไม ่เที่ยง เมื่อปราศจากวิญญาณก็ล้มกองนอนทับแผ ่นดิน ประดุจท่อนไม้ หาประโยชน์มิได้” เพียงเท่านี้พระติสสะก็บรรลุ ธรรมเป็นพระอรหันต์ทันที เพราะท่านเห็นด้วยปัญญาอย่าง ชัดเจนว่า สังขารนี้เป็นทุกข์มาก ไม่น่ายึดถือเลย แต่ก่อนเคย รักเคยหวงเคยแหนสังขารร ่างกายนี้ แต ่พอเจ็บป ่วยก็รู้เลย ว่าสังขารนี้เป็นทุกข์อย่างยิ่ง จิตก็ปล่อยวาง ไม่ยึดถือสังขาร อีกต่อไป ก็บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ในวินาทีเดียวกับที่ท่าน สิ้นลม 18พ ระไพศาล วิ สาโล มีตัวอย่างคนที่บรรลุธรรมท่ามกลางความเจ็บป่วย หรือ ถึงแม้จะไม่บรรลุธรรม แต่พบกับความสงบทั้งๆ ที่ทุกขเวทนา บีบคั้น เช่น เป็นโรคมะเร็ง หลำยคนบอกว่ำขอบคุณที่เป็นมะเร็ง เพรำะว่ำท�ำให้ได้พบควำมสงบเย็นในจิตใจ ท�ำให้ปล่อยวำง สิ่งต่ำงๆ ที่เคยยึดติดถือมั่นเอำไว้ เมื่อความตายใกล้เข้ามา อีกทั้งยังเห็นชัดว่า สังขารร่างกายนี้ไม่สามารถพึ่งพาได้ เช่น เดียวกับสิ่งทั้งปวงที่สะสมมาก็ไม่สามารถเอาไปได้ จึงปล่อยวาง เกิดความเบาสบายและสงบเย็นมาแทนที่ ทั้งหมดนี้ชี้ว่าตราบใดที่เรายังเป็นมนุษย์อยู่ แม้พิการ หรือเจ็บป่วย เราก็ยังสามารถเข้าถึงสิ่งที่ประเสริฐดีงามได้เสมอ ไม่ว่าการท�าความดี การเห็นความจริงและการเข้าถึงความสุข สงบเย็น 19ข องขวัญคือ ล มหายใ จ องขวัญแห่งชีวิตประการต่อมา คือ ลมหำยใจ เป็นเพราะ เรามีลมหายใจ เราจึงมีทุกอย่างอย่างที่เรามีอยู่ในขณะนี้ และสามารถที่จะมียิ่งกว่านี้ด้วย ไม่ว่าความส�าเร็จทางโลก หรือ ความเจริญก้าวหน้าในทางธรรม ทุกวันนี้ผู้คนมักมองข้ามลมหายใจ หลายคนไม่ได้ตระหนัก เลยว่า การที่ตัวเองมีลมหายใจนับว่าเป็นโชคอันประเสริฐ เป็น ของขวัญล�้าค่าที่ควรทะนุถนอม หลายคนคิดถึงแต่การแสวงหา ขข องขวัญ แ ห่งชีวิต ทรัพย์สมบัติและอ�านาจวาสนาเพราะคิดว่าต่อเมื่อมีสิ่งนั้นแล้ว ตัวเองจึงจะมีความสุข แต่ความจริงแล้วลมหายใจนี่แหละส�าคัญ ที่สุด ถ้าเราไม ่มีลมหายใจเสียอย ่างเดียว สิ่งที่เราเคยมีก็ สูญหมด อีกทั้งสิ่งที่เราสามารถจะมีได้ก็หมดโอกาสที่จะมี เช่นเดียวกัน ลมหายใจยังช่วยให้เราเข้าถึงความสงบเย็น หากเรา น้อมใจมาอยู่ที่ลมหายใจ มีสติรู้ลมหายใจเข้าออกอย่างต่อเนื่อง จิตใจเราจะเบาสบาย ที่รุ่มร้อนก็เย็นลง ที่เคยว้าวุ่น